angeles.services

angeles.services

ธรรมบท ภาค 5 / ธรรมบท ภาค 8 แปลโดยพยัญชนะ บาลีวิชชาลัย

แบบ-ผม-ซอย-ยาว
November 22, 2022, 10:02 pm
3 การเจริญสมาธิโดยใช้สติเป็นตัวนำ ในที่นี้มีพระสูตรที่ให้หลักปฏิบัติกัมมัฏฐานไว้เรียกว่า สติปัฏฐานสูตร ซึ่งได้ให้หลักการแห่ง การปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้ 1. กายานุปัสสนา หมายถึง การตามเห็นกายในกาย หรือความรู้ทันที่เกิดขึ้นจากอาการต่างๆ ของกาย ด้วยวิธีการ ๖ อย่าง คือ 1. อานาปานสติ กำหนดลมหายใจเข้า-ออกในร่างกายของตน 2. กำหนดอิริยาบถ คือ เมื่อยืน เดิน นั่ง นอน หรือ ร่างกายอยู่ในอาการอย่างไร ก็รู้ชัดในอาการ ที่เป็นอยู่นั้นๆ 3. ปฏิกูลมนสิการ คือ การพิจารณาร่างกายของตนเอง ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้าซึ่งมีส่วน ประกอบต่างๆ ที่ไม่สะอาดประกอบอยู่ 4. ธาตุมนสิการ คือ การพิจารณาร่างกายของตนโดยให้เห็นว่าประกอบขึ้นจากธาตุ 4 ถ. นวสีวถิกา คือ การกำหนดรู้ร่างกายว่าเปรียบด้วยซากศพ โดยพิจารณาซากศพมีลักษณะ ต่างๆ กัน โดยระยะเวลา 9 ระยะ ตั้งแต่ตายใหม่ๆ จนถึงกระดูกผุ แล้วให้ย้อนมานึกร่างกายของตนว่า จะต้องเป็นเช่นนั้นเหมือนกัน ซากศพที่ให้พิจารณา 8 ระยะ มีลักษณะพอสรุปดังต่อไปนี้ 1. ซากศพที่ขึ้นพองมีสีเขียว มีน้ำเหลืองไหล 2. ซากศพที่ถูกฝูงกา แร้ง สัตว์ต่างๆ กัดกินอยู่ 3. ซากศพที่เป็นร่างกระดูก ยังมีเนื้อและเลือด ยังมีเอ็นผูกรัดอยู่ 4.

ธรรมบท แปลโดยพยัญชนะ ภาค5

แปลศัพท์บาลี (แปลทีละศัพท์) โปรแกรมค้นหาคำแปลศัพท์บาลีเป็นไทย จากฐานข้อมูลธรรมบทภาค๑-๔ วัดพระราม๙ (๒๑/๓/๖๓ โดยรวม ๘๐%) รวบรวมและวิเคราะห์ศัพท์โดย พระราชญาณกวี(สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)ป. ธ. ๙ และ อ. บุญสืบ อินสาร ป. ๙ เขียนโปรแกรมโดย พระเฉลิมเกียรติ ธนานนฺโท แบบแจกการันต์ ใน ลิงค์ 3 ใน ปํฺลิงค์ มีการันต์ 5 คือ อ อิ อี อุ อู ใน อิตฺถีลิงค์ มีการันต์ 5 คือ อา อิ อี อุ อู ใน นปํุสกลิงค์ มีการันต์ 3 คือ อ อิ อุ

ธัมมานุปัสสนา หมายถึง การตามเห็นธรรมในธรรม คือ การตามเห็นธรรมที่เกิดขึ้นในจิตของตน มีการพิจารณา 5 ประการ คือ 1. นิวรณ์ คือ รู้ชัดในขณะนั้นๆ ว่า นิวรณ์แต่ละอย่าง คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจ กุกกุจจะ วิจิกิจฉา ที่มี มีอยู่ในจิตตนหรือไม่ ที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้นได้อย่างไร ที่เกิดขึ้นแล้ว ละเสียได้อย่างไร เมื่อละได้แล้ว ไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปอย่างไร รู้ชัดตามที่เป็นจริง 2.

Million

อริยสัจ คือ รู้ชัดอริยสัจ 4 แต่ละอย่างๆ ตามความเป็นจริงว่า คืออะไร เป็นอย่างไร และ จะทำให้รู้แจ้งเห็นจริงได้เมื่อใด " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจเป็นไฉน แม้ชาติก็เป็นทุกข์ แม้ชราก็เป็นทุกข์ แม้มรณะก็เป็นทุกข์ แม้โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ก็เป็นทุกข์ ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพลาดจากสิ่งที่รัก ก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่ออุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์…..
  • ธรรมบท ภาค 5.6
  • คลี น ซิ่ง เค ที่ ด อ ล
  • ธรรมบท ภาค 4 word
  • Ielts academic ราคา training
  • งาน สื่อสาร การ ตลาด
  • [Wasabi] เครื่องประดับจีนโบราณ (ของสื่อรักมัดใจ)
  • รวมลุคแต่งตา 'วาดลายหัวใจ' สไตล์เมคอัพน่ารักๆ ไว้แต่งรับวันวาเลนไทน์ | SistaCafe | LINE TODAY
  • ธรรมบท ภาค 5.2
  • งาน หางาน สมัครงาน รับสมัคร เจ้าหน้าที่จัดทำสื่อการสอน จังหวัดชลบุรี ต้องการด่วน - Jobchon.com : งานจังหวัดชลบุรี ต้องการด่วน

ธรรมบท ภาค 1 แปลโดยอรรถ

วิชาสัมพันธ์ไทย ธรรมบท ภาคที่ 5 รหัสสินค้า: 9748486591 โดย. : ดร. อุทิส ศิริวรรณ พิมพ์: 1 สี กระดาษ: ปอนด์ จำนวน: 169 หน้า ขนาด: 14. 5x21cm. น้ำหนัก: 0 กรัม ราคาปก: 55 บาท แก้ปัญหาสัมพันธ์ผิดให้ถูกต้องได้ ใช้เป็นแนวเตรียมสอบสนามหลวงได้ผลแน่นอน 95% บันทึกสถิติข้อสอบสนามหลวง วิชาสัมพันธ์ไทย ครบทุก พ. ศ. สัมพันธ์ถูกต้องตรงตามกติกาการตรวจข้อสอบของกองบาลีสนามหลวง ครูอาจารย์ และนักเรียนป. ธ. 3 ใช้เป็นหลักตัดสินปัญหาสัมพันธ์ได้

ธรรมบท ภาค 1 pdf

ธ 3.... กัณฑ์ การงานที่ไม่มีโทษ +188 แสดงทั้งหมด

ธรรมบท ภาค 2 แปลยกศัพท์

เมื่อกล่าวถึงวิธีปฏิบัติกัมมัฏฐานในพระไตรปิฎก ได้แสดงวิธีการเจริญสมาธิแบบต่างๆ ไว้ ดังต่อไปนี้ 1. 5. 1 การเจริญสมาธิวิธีธรรมชาติ เป็นหลักปฏิบัติที่แสดงให้เห็นถึงหลักการของจิตที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับจนกระทั่ง เกิดสมาธิขึ้น โดยแสดงให้เห็นถึงสภาวะจิตที่เริ่มเกิดจากมีปราโมทย์ หรือเกิดความปลาบปลื้มบันเทิงใจ จากการทำสิ่งที่ดีงามอย่างใดอย่างหนึ่ง จนเกิดความอิ่มใจ (ปีติ) ร่างกายจึงผ่อนคลาย สงบ จิตใจสบาย (ปัสสัทธิ) มีความสุข และสมาธิก็เกิดขึ้นตามลำดับดังนี้ 1. เกิดจากการประพฤติปฏิบัติตั้งมั่นอยู่ในศีล และด้วยศีลที่รักษาดีแล้ว ย่อมทำให้เกิดความปราโมทย์ 2. เกิดจากการได้ศึกษาธรรมะ ฟังธรรมและปฏิบัติธรรม จึงเกิดความปราโมทย์ สมาธิ จึงเกิดขึ้น 3. เกิดจากความสามัคคี ปรองดองกัน 4. เกิดจากการสำรวมอินทรีย์ คือ สำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ 1. 2 การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท ๔ คือ 1. สมาธิที่เกิดจากฉันทะ 2. สมาธิที่เกิดจากวิริยะ 3. สมาธิที่เกิดจากจิตตะ 4.

ซากศพที่เป็นร่างกระดูก ยังเปื้อนเลือด แต่ปราศจากเนื้อ ยังมีเอ็นผูกรัดอยู่ 5. ซากศพที่เป็นร่างกระดูก ปราศจากเนื้อและเลือดแล้ว 6. ซากศพที่เป็นร่างกระดูก ปราศจากเอ็นผูกรัดแล้ว กระจัดกระจายเรี่ยราดไปคนละทิศละทาง 7. ซากศพที่เป็นกระดูก มีสีขาว เปรียบประดุจสีสังข์ 8. ซากศพที่เป็นกระดูก เป็นกองเรี่ยราดแล้ว เก่าเกินปีหนึ่งไปแล้ว 9. ซากศพที่เป็นกระดูกผุละเอียด 2. เวทนานุปัสสนา หมายถึง การตามเห็นเวทนาในเวทนาที่เกิดขึ้น คือ เมื่อเกิดความรู้สึกสุข ทุกข์ เฉยๆ ก็รู้ชัดว่าตามที่เป็นอยู่ในขณะนั้นๆ เวทนา หมายถึง ความเสวยอารมณ์ มี ๓ อย่างคือ 1. สุขเวทนา คือ ความรู้สึกสุข สบาย ทางกายหรือทางใจ 2. ทุกขเวทนา คือ ความรู้สึกทุกข์ ไม่สบาย ทางกายหรือทางใจ 3. อทุกขมสุขเวทนา คือ ความรู้สึกเฉยๆ ไม่สุข ไม่ทุกข์ บางทีเรียกว่า อุเบกขาเวทนา อามิส หมายถึง เหยื่อล่อ คือกามคุณ ๕ ดังนั้นสุขที่มีอามิสในพุทธพจน์ จึงหมายถึง สุขจาก กามคุณ ๕ สุขที่ไม่มีอามิส หมายถึง สุขที่ไม่ต้องอาศัยกามคุณ เป็นสุขที่เกิดจากการที่ใจสงบ เป็นต้น 3. จิตตานุปัสสนา หมายถึง การตามเห็นจิตในจิต คือ เห็นจิตของตนในขณะนั้นๆ เป็นอย่างไร เช่น มีราคะ ไม่มีราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ มีโมหะ ไม่มีโมหะ ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิหลุดพ้น ยังไม่หลุดพ้น เป็นต้น 4.