angeles.services

angeles.services

วัคซีน Mrna จุฬา | ข่าวดี วัคซีน “Chulacov19” ชนิด Mrna เตรียมวิจัยในคนระยะแรก พ.ค.นี้

chanel-woc-ราคา-2020
November 19, 2022, 8:04 pm

เกียรติกล่าว ศ. เกียรติ กล่าวด้วยว่า ขณะนี้อยู่ระหว่างรอทดสอบคุณภาพ หากทุกอย่างเป็นไปตามแผนจะเริ่มรับอาสาสมัครได้ก่อนสิ้นปีนี้ ฉีดจริงต้นปีหน้า ดูผลในเดือนมีนาคม 2565 เพื่อรวบรวมข้อมูลขึ้นทะเบียนในภาวะฉุกเฉินกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หากเป็นไปตามแผนคาดจะได้ใช้จริงในกลางปี 2565 อ้างอิง: ABOUT THE AUTHOR THE STANDARD TEAM กองบรรณาธิการ THE STANDARD

วัคซีน ChulaCov19 ชนิด mRNA เดินหน้าระยะ 3 หลังผลทดลองสร้างภูมิสูงเทียบ Pfizer คาดใช้จริงกลางปี 65 – THE STANDARD

วัคซีนmrna จุฬาคืออะไร

เกียรติคุณ นพ. อมร ลีลารัศมี นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ และรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม กล่าวว่า การฉีดวัคซีน 2 เข็มลดความรุนแรงของโรคชัดเจน ขณะที่เข็ม 3 ก็ยังลดได้เช่นกัน แต่ภูมิฯ อาจจะลดลงบ้างเนื่องจากเป็นสายพันธุ์โอมิครอนที่กลายพันธุ์มาจากสายพันธุ์อู่ฮั่น อย่างไรก็ตาม หากการฉีดเข็มกระตุ้นด้วยไฟเซอร์ หรือโมเดอร์นาก็จะช่วยให้ภูมิฯ ขึ้นสูงขึ้นได้ ฉะนั้น วัคซีนเข็ม 3 และ 4 ยังมีความจำเป็น แต่สำหรับเข็ม 5 เป็นต้นไป ถือว่ายังถี่เกินไป อย่างไรก็ตาม การฉีดวัคซีนเข็มล่าสุดจะช่วงส้รางภูมิฯ ในระดับ 3 เดือน และจะลดลงในช่วง 4 เดือนหลังจากนั้น ขณะที่ รศ. ธนา ขอเจริญพร ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรคติดเชื้อ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ข้อมูลการฉีดวัคซีน เทียบได้กับการเดินทางสายกลาง คือ มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพ หากการฉีดมากเกินไปก็ย่อมเกิดโทษได้ เนื่องจากวัคซีนก็คือยาอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะวัคซีนโควิดที่เพิ่งผลิตมาใช้ได้เพียง 2 ปีก็อาจจะมีโทษที่เรายังไม่ทราบได้ เช่น ผลข้างเคียงระยะยาว ฉะนั้น ควรจะเลือกใช้ให้พอเหมาะกับประโยชน์ที่จะได้

วานนี้ (18 พฤศจิกายน) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แถลงข่าวความคืบหน้าการพัฒนาวัคซีนชนิด mRNA (โดยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และวัคซีนจุฬาฯ) ในงานเสวนา CHULA the Impact ครั้งที่ 5 โดย ศ. นพ.

รพ.จุฬาฯ เปิดให้ประชาชนลงทะเบียนฉีด 'โมเดอร์นา' ฟรี เป็นเข็มกระตุ้น - ข่าวสด

จุฬาฯ จ่อทดสอบวัคซีน mRNA ในคนเฟส 1 ต้น พ. ค. วิจัยคู่ขนานสูตรค็อกเทลรับโควิดกลายพันธุ์ วันนี้ (18 กุมภาพันธ์ 2564) ที่โรงพยาบาล (รพ. ) จุฬาลงกรณ์ นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (สธ. ) พร้อมด้วย ศ. นพ. เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้อำนวยการบริหารโครงการพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ นพ. นคร เปรมศรี ผู้อำนวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติ แถลงความก้าวหน้าล่าสุดของการพัฒนาวัคซีน ChulaCov19 และความพร้อมทดสอบในอาสาสมัคร นายอนุทิน กล่าวว่า ตน และ สธ. พร้อมสนับสนุนโครงการพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ของจุฬาฯ ในทุกวิถีทาง เพื่อให้ประสบความสำเร็จโดยเร็วที่สุด เพราะเป็นโครงการที่นำความปลอดภัยมาก่อนชื่อเสียง เพื่อให้คนไทยปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 และเพื่อส่งเสริมฐานที่แข็งแกร่งของระบบสาธารณสุขของประเทศ ให้มีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น แม้ตนไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของจุฬาฯ แต่เป็นระบบสาธารณสุขของประเทศไทยเช่นกัน มีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะเห็นโครงการฯ ประสบความสำเร็จ พร้อมให้ความช่วยเหลือสนับสนุนในทุกด้านที่ได้รับการร้องขอ เปรียบเสมือนทีมเดียวกัน โดยเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ผู้อภิปรายกล่าวถึงตนและ สธ.

ภญ.

วัคซีนmrna จุฬาคืออะไร

  • สงครามเปลี่ยน กลยุทธ์ต้องปรับ วัคซีนต้านโควิด19ต้องฉีดอย่างไร อ่านที่นี่
  • จุฬาฯ เผยข่าวดีผลทดสอบวัคซีนกันโควิด mRNA สู้เชื้อกลายพันธุ์ 4 สายพันธุ์ | เดลินิวส์
  • จุฬาฯเผยวัคซีนโควิด “mRNA” นวัตกรรมคนไทยได้ใช้ปี65
  • รพ.จุฬาลงกรณ์ เปิดลงทะเบียนฉีดวัคซีน mRNA เข็ม 3-4 สำหรับผู้ที่สนใจ
เกียรติ กล่าวต่อว่า วันนี้ต้องการให้คนไทยมาร่วมหาคำตอบ งดเสพสื่อทางลบ แต่มาหาทางออกร่วมกัน เพื่อให้วัคซีนที่พำลังพัฒนาในประเทศไทย 4 ตัวนั้น มีอย่างน้อย 1 ตัวสามารถอออกมาใช้ได้ภายในสงกรานต์ 2565 ซึ่งจะทำได้หรือไม่ จากการวิเคราะห์กับทีมพบว่ามีองค์ประกอบ 4 คือ 1. ประเทศไทยต้องไม่บริหารทุนแบบเดิม ต้องมีเป้าหมายร่วมกัน ทั้งรัฐ เอกชน ไม่ว่าจะเป็นงบประมาณ หรือเงินบริจาค โดยจะใช้ราวๆ 500-600 ล้านบาท 2. กติกาขึ้นทะเบียนวัคซีนของ อย. 3. โรงงานไทยต้องเร่งผลิตให้ได้จำนวนมากก่อนสิ้นปี 4. การจองวัคซีนของรัฐ-เอกชน ต้องชัดเจน ดังนั้นโดยสรุปเราต้องทำต่างจากเดิม นพ. นคร กล่าวว่า นับเป็นข่าวดีในการร่วมมือในการพัฒนาวัคซีน mRNA เมื่อเราเดินทางมาถึงจุดนี้ เพราะการพัฒนาวัคซีนป้องกันโควิด -19 เป็นเรื่องท้าทาย ด้วยโรคระบาดรุนแรง ความท้าทายองค์ความรู้ เทคโนโลยี ที่การพัฒนาที่ต้องเร่งทำแข่งกับเวลา ซึ่งสถาบันวัคซีนมีการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยในประเทศชัดเจน ทั้งการทดลองในสัตว์ ทุนซื้อวัคซีนในต่างประเทศมาพัฒนา ทุนในการพัฒนาโรงงาน และทุนการวิจัยในคนเมื่อเดือน มิ.

จุฬาฯ แย้มข่าวดีวัคซีน ChulaCov 19 ชนิด mRNA คาดได้ใช้จริงปี 65

พ่อของผมโชคดีที่ห้อง ER มีเตียงว่าง ได้รับการรักษาและรับยาฟาวิทันที แม้จะยังไม่เคยตรวจ PCR มาก่อน ก่อนจะได้แอดมิทที่โรงพยายาลสมุทรสาคร แม้จะเป็นผู้ป่วยนอก ซึ่งปัจจุบันอาการดีขึ้นมากแล้ว ย้ายไปโรงพยาบาลสนาม และใกล้จะได้กลับมารักษาตัวต่อที่บ้าน 11.

ธีระวัฒน์กล่าว ศ. ธีระวัฒน์ กล่าวว่า ประเด็นที่ระบุถึงภูมิคุ้มกันที่อาจจะไม่เป็นมิตรกับภูมิฯ ตามธรรมชาติหรือจากวัคซีน ทั้งนี้อธิบายถึงกรณีหากไปพบกับเชื้อโควิดใหม่ที่อาจผันแปรรหัสพันธุกรรม ทำให้ภูมิฯ ไม่สามารถทำลายได้ ขณะเดียวกันก็อาจมีผลกระทบในทางลบ ซึ่งตั้งแต่ปี ค. ศ.

จากการทดสอบความทนต่ออุณหภูมิของวัคซีน พบว่าวัคซีน ChulaCoV19 สามารถอยู่ในอุณหภูมิตู้เย็น (2-8 องศาเซลเซียส) ได้นานถึง 3 เดือน และเก็บในอุณหภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส) ได้นาน 2 สัปดาห์ ซึ่งทำให้การจัดเก็บรักษาง่ายกว่าวัคซีนโควิด-19 ชนิด mRNA ยี่ห้ออื่น เช่น ไฟเซอร์ โมเดอร์นา เป็นอย่างมาก 2. ผลการทดสอบในสัตว์ผ่านเกณฑ์ดีมาก จากการทดลองในหนูทดลองชนิดพิเศษที่ออกแบบให้สามารถเกิดโรคโควิด-19 ได้ พบว่า เมื่อหนูได้รับการฉีดวัคซีน ChulaCov19 ครบ 2 เข็ม ห่างกัน 3 สัปดาห์ แล้วให้หนูทดลองได้รับเชื้อโควิด-19 เข้าทางจมูก สามารถป้องกันหนูทดลองไม่ให้ป่วยเป็นโรคและยับยั้งไม่ให้เชื้อไวรัสเข้าสู่กระแสเลือด รวมทั้งสามารถลดจำนวนเชื้อในจมูกและในปอดลงไปอย่างน้อย 10, 000, 000 เท่า ส่วนหนูที่ไม่ได้รับวัคซีนจะเกิดอาการป่วยโควิด-19 ภายใน 3-5 วัน และทุกตัวมีเชื้อสูงในกระแสเลือด ในจมูก และปอด เมื่อทดสอบความเป็นพิษก็พบว่าปลอดภัยดี 3. วัคซีนชนิด mRNA สามารถผลิตได้เร็ว ไม่ต้องรอเพาะเลี้ยงเชื้ออย่างวัคซีนบางชนิด แต่วัคซีน mRNA เพียงรู้สายพันธุ์ของเชื้อก็ไปออกแบบวัคซีนได้ สังเคราะห์ในหลอดทดลอง ไม่เกิน 4 สัปดาห์มีวัคซีนมาทดสอบในหนูได้ การที่ผลิตได้รวดเร็วนี้ ทำให้ไม่ต้องใช้โรงงานขนาดใหญ่ ระยะยาวจะเป็นเทคโนโลยีที่ดีที่ประเทศจน ๆ สามารถตั้งโรงงานขนาดเล็กขึ้นได้ นอกจากนี้ เมื่อเกิดเชื้อกลายพันธุ์ก็สามารถสังเคราะห์วัคซีนได้เร็วเช่นกัน ก้าวต่อไปในอนาคตของ Chula VRC ศ.