angeles.services

angeles.services

Fmcg ใน ไทย - Kantar เผยข้อมูลผู้บริโภคไทยและสิ่งที่เจ้าของแบรนด์ในกลุ่ม Fmcg ต้องปรับตัว - Forbes Thailand

chanel-woc-ราคา-2020
November 19, 2022, 6:34 pm
ความสำคัญของสุขอนามัยร่างกาย ไปจนถึงสุขภาพภายในและความเป็นอยู่ที่ดี ผู้บริโภคมีมุมมองด้านสุขภาพแบบองค์รวมมากขึ้น ตั้งแต่การปกป้องและการป้องกัน ผู้บริโภคยินดีจ่ายเงินเพื่อซื้อผลิตภัณฑ์ที่จะช่วยเพิ่มระบบภูมิคุ้มกัน แบรนด์ FMCG ต้องกำหนดเป้าหมายการสื่อสารการตลาดเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นนวัตกรรมใหม่ที่ตอบสนองความต้องการดังกล่าว 2. การอยู่บ้านจะยังคงมีความสำคัญต่อไปอีก ผู้บริโภคต้องการมีชีวิตที่ดีขึ้นแม้ต้องอยู่ในสถานการณ์โควิด แบรนด์ FMCG ต้องสร้างประสบการณ์โดยมอบช่วงเวลาแห่งการพักผ่อนและดูแลตัวเองได้ ผู้บริโภคยังคำนึงถึงผลกระทบต่อโลกใบนี้มากขึ้น ซึ่งเกี่ยวข้องกับพวกเขาทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้นแบรนด์ต้องเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมไม่ใช่ทางเลือกแต่เป็นภาคบังคับในการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ 3.
  1. Voathai
  2. Kantar ประเมินปี 2022 เป็นปีที่ไม่แย่สำหรับสินค้า FMCG
  3. ชี้ปัจจัยบวก FMCG ออนไลน์ คาดปี 62 คนไทยเข้าถึง 20%
  4. BrandAge : กันตาร์ฯ เผยตลาด FMCG เติบโตติดลบครั้งแรกในรอบ 10 ปี
  5. Kantar: เปิดผลสำรวจแบรนด์ในไทยประจำปี 2020 ใครยอดฮิต-ใครดาวรุ่ง-ใครม้ามืด | Brand Inside

Voathai

Kantar ประเมินปี 2022 เป็นปีที่ไม่แย่สำหรับสินค้า FMCG

เผยแพร่: 16 พ. ค. 2560 12:40 ปรับปรุง: 16 พ. 2560 14:31 โดย: MGR Online ผู้จัดการรายวัน 360 - เผยช่องทางอี-คอมเมิร์ซตลาด FMCG ไทยเติบโตต่อเนื่อง คาดผู้บริโภคเข้าถึง 15-20% ของจำนวนครัวเรือนในปี 62 คาดอนาคตมูลค่าทั่วโลกสูงถึง 1. 5 แสนล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วน 9% ของตลาดรวม "กันตาร์ เวิร์ลดพาแนล" แนะ 5 ปัจจัยรับมือนักช้อปออนไลน์ นายคาร์เร็ต อิลิส ผู้อำนวยการด้านคอมเมอร์เชี่ยล บริษัท กันตาร์ เวิร์ลดพาแนล (ไทยแลนด์) ผู้นำด้านการวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเชิงลึกและเชี่ยวชาญในกลุ่มสินค้าอุปโภค-บริโภค หรือ FMCG (Fast Moving Consumer Goods) เปิดเผยว่า ภาพรวมการเติบโตของตลาด FMCG ทั่วโลกในปี 2559 มีการเติบโต 1. 3% โดยคาดว่าจะยังคงเติบโตต่ำลงลงประมาณ 1. 2% ในปี 2560 ถือเป็นการลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2555 ซึ่งเติบโต 5. 9% เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวส่งผลให้ผู้บริโภคมีกำลังซื้อลดลง ประกอบกับผู้ผลิตและเจ้าของแบรนด์สินค้ามีความระมัดระวังในการใช้จ่ายด้านการทำการตลาดมากขึ้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มสินค้า FMCG ในช่องทางอี-คอมเมิร์ซกลับมีอนาคตสดใสด้วยอัตราการเติบโตถึง 15% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา คิดเป็นสัดส่วน 4.

ชี้ปัจจัยบวก FMCG ออนไลน์ คาดปี 62 คนไทยเข้าถึง 20%

  • 10 อันดับแบรนด์ FMCG คนไทย-เทศซื้อมากที่สุด ปี 2558
  • บ่อ พัก ดัก กลิ่น
  • Fmcg ใน ไทย

BrandAge : กันตาร์ฯ เผยตลาด FMCG เติบโตติดลบครั้งแรกในรอบ 10 ปี

fmcg ในไทย

Kantar: เปิดผลสำรวจแบรนด์ในไทยประจำปี 2020 ใครยอดฮิต-ใครดาวรุ่ง-ใครม้ามืด | Brand Inside

05 มิ. ย. 2563 เวลา 8:15 น. 1.

1% ภายในสิ้นปี 2022 จากการจำลองว่าปัจจัยส่วนใหญ่ยังคงเหมือนเดิม สถานการณ์ปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในอาหารล่าสุดเป็นระยะสั้น และ Omicron จะไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญต่อ MCO (Movement Control Order) แต่จะเกิดอะไรขึ้นถ้า Omicron กลายเป็นวิกฤต? จะเกิดอะไรขึ้นหากภาครัฐลดโครงการเงินอุดหนุนต่างๆ และหากอัตราเงินเฟ้อด้านอาหารยังไม่คลี่คลาย ภาระจะตกไปยังผู้บริโภค ในสถานการณ์ที่เลวร้ายเช่นนี้ ยอดขาย FMCG อาจลดลงที่ ติดลบ 0. 2% ถึง บวกเพียง 0.

การพัฒนาระบบชำระเงิน (A Payment Revolution) 4. การมอบประสบการณ์ชอปปิ้งเสมือนจริง (Seamless Shopping Experiences) และ 5. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตกับสิ่งต่างๆ ที่มีผลต่อผู้บริโภค (The Internet of Things) สำหรับพฤติกรรมผู้บริโภคกลุ่มสินค้า FMCG ผ่านช่องทางอี-คอมเมิร์ซในตลาดโลกพบว่า เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีผู้บริโภคเข้าถึงช่องทางอี-คอมเมิร์ซมากที่สุดถึง 70% ของจำนวนครัวเรือน มีความถี่ในการซื้อเฉลี่ย 14 ครั้งต่อปี ตลาดมีการเติบโต 16. 6% รองลงมาคือญี่ปุ่นและจีน ผู้บริโภคเข้าถึงประมาณ 50% ของจำนวนครัวเรือน มีความถี่ในการซื้อเฉลี่ย 3-4 ครั้งต่อปี โดยตลาดญี่ปุ่นมีการเติบโต 7. 2% ส่วนจีน ตลาดเติบโต 4. 2% อังกฤษ ผู้บริโภคเข้าถึง 30% ของจำนวนครัวเรือน มีความถี่ในการซื้อเฉลี่ย 14 ครั้งต่อปี ตลาดมีการเติบโต 6. 9% ส่วนตลาดสหรัฐอเมริกา แม้จะมีผู้บริโภคเข้าถึง 30% ของจำนวนครัวเรือน แต่มีความถี่ในการซื้อเฉลี่ย 4 ครั้งต่อปี ตลาดเติบโต 1. 4% เช่นเดียวกับเยอรมนีมีผู้บริโภคเข้าถึง 20% ของจำนวนครัวเรือน แต่มีความถี่ในการซื้อเฉลี่ย 4 ครั้งต่อปี ตลาดเติบโต 1. 2% เนื่องจากพฤติกรรมของผู้บริโภคทั้งสองประเทศยังคงยึดติดกับวัฒนธรรมในการเลือกซื้อสินค้าที่จับต้องได้เป็นจำนวนมาก